ประเภทของการออกกำลังกาย
1. การออกเพื่อเพิ่มสมรรถภาพหัวใจและปอด หรือแบบแอโรบิก เป็นการใช้กล้ามเนื้อหลายๆส่วนของร่างกายที่นานต่อเนื่อง กระตุ้นให้ร่างกายใช้พลังงานจากและพัฒนาการของอวัยวะต่างๆ ในการดำรงชีวิต เช่น หัวใจ ปอด ข้อต่อ กล้ามเนื้อ * ต้องยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนและหลังออกกำลังกาย
2. การออกเพื่อเพิ่มความแข็งแกร่ง เป็นการใช้เฉพาะกล้ามเนื้อบางมัดซ้ำๆ กันในระยะเวลาอันสั้น ช่วยเพิ่มกล้ามเนื้อ ความแข็งแกร่งของกระดูก เช่น การยกน้ำหนัก การเล่นกล้ม การวิดพื้น การลุกนั่ง การที่มวลกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้นจะช่วยเพิ่มระดับการเผาผลาญพลังงานของร่างกายในระยะยาว เป็นการป้องกันภาวะอ้วนได้
3. การออกกำลังกายเพื่อเผาผลาญไขมัน เป็นการออกที่ไม่รุนแรง เป็นระดับเบาถึงปานกลาง
ใช้ระยะเวลาต่อเนื่องนานกว่า 30 นาทีขึ้นไป วิธีนี้ร่างกายจะเผาผลาญพลังงานจากไขมันในสัดส่วนที่สูง
มีผลต่อสมรรถภาพของหัวใจ
4. การออกกำลังกายเพื่อยืดเหยียดกล้ามเนื้อ เป็นการออกกำลังกายเพื่อเตรียมพร้อมของกล้ามเนื้อป้องกันการเกิดตะคริว ป้องกันกล้ามเนื้อและเอ็นได้รับบาดเจ็บขณะออกกำลังกาย การฝึกสมาธิและการฝึกลมหายใจ จะช่วยควบคุมอารมณ์ได้ดีขึ้น เช่น การฝึกโยคะ รำมวยจีน ฝึกซี่กง
การยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนการออกกำลังกาย
3. การออกกำลังกายเพื่อเผาผลาญไขมัน เป็นการออกที่ไม่รุนแรง เป็นระดับเบาถึงปานกลาง
ใช้ระยะเวลาต่อเนื่องนานกว่า 30 นาทีขึ้นไป วิธีนี้ร่างกายจะเผาผลาญพลังงานจากไขมันในสัดส่วนที่สูง
มีผลต่อสมรรถภาพของหัวใจ
4. การออกกำลังกายเพื่อยืดเหยียดกล้ามเนื้อ เป็นการออกกำลังกายเพื่อเตรียมพร้อมของกล้ามเนื้อป้องกันการเกิดตะคริว ป้องกันกล้ามเนื้อและเอ็นได้รับบาดเจ็บขณะออกกำลังกาย การฝึกสมาธิและการฝึกลมหายใจ จะช่วยควบคุมอารมณ์ได้ดีขึ้น เช่น การฝึกโยคะ รำมวยจีน ฝึกซี่กง
การยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนการออกกำลังกาย
คำแนะนำ
1. เลือกอุปกรณ์ให้เหมาะสม เช่นซื้อรองเท้าวิ่งขนาดพอดีเท้า เลือกอุปกรณ์ที่เหมาะกับตัวเรา
2. ควรดื่มน้ำก่อนออกกำลังกาย 20 นาที เลือกออกช่วงเย็น
3. ควรหยุดออกกำลังกายเมื่อร่างกายรู้สึกผิดปกติ ป่วย ไม่สบาย
4. หากน้ำหนักต้วมาก ข้อเสื่อม ไม่ควรออกกำลังกายที่มีการกระแทก เช่น การงอเข่าหรืองอข้อต่อนั้นๆ
5. สังเกตอาการระหว่างการออกกำลังกาย ให้หยุดเมื่อมีอาการ เช่น
* หายใจไม่ทัน * พูดขาดๆหายๆ
* หน้ามืด วิงเวียน * จะอาเจียน * เจ็บแน่นหน้าอก
* ปวดตามแขน ขามาก* เกร็ง * เป็นตะคริว
* ตัวเย็นลง * ผิวซีด * กระหายน้ำอย่างรุนแรง
ความหนักในการออกกำลังกาย
1. เลือกอุปกรณ์ให้เหมาะสม เช่นซื้อรองเท้าวิ่งขนาดพอดีเท้า เลือกอุปกรณ์ที่เหมาะกับตัวเรา
2. ควรดื่มน้ำก่อนออกกำลังกาย 20 นาที เลือกออกช่วงเย็น
3. ควรหยุดออกกำลังกายเมื่อร่างกายรู้สึกผิดปกติ ป่วย ไม่สบาย
4. หากน้ำหนักต้วมาก ข้อเสื่อม ไม่ควรออกกำลังกายที่มีการกระแทก เช่น การงอเข่าหรืองอข้อต่อนั้นๆ
5. สังเกตอาการระหว่างการออกกำลังกาย ให้หยุดเมื่อมีอาการ เช่น
* หายใจไม่ทัน * พูดขาดๆหายๆ
* หน้ามืด วิงเวียน * จะอาเจียน * เจ็บแน่นหน้าอก
* ปวดตามแขน ขามาก* เกร็ง * เป็นตะคริว
* ตัวเย็นลง * ผิวซีด * กระหายน้ำอย่างรุนแรง
ความหนักในการออกกำลังกาย
0 ความคิดเห็น :
แสดงความคิดเห็น