การดูแลด้านอาหาร เมื่อเป็นเบาหวาน สำคัญอย่างยิ่งที่ต้องสนใจเป็นพิเศษในเรื่องของอาหารต่างๆ
แต่ไม่ถึงกับต้องเครียดนะค่ะ แค่หลีกเลืี่ยงหรือปฎิบัติตามคำสั่งของแพทย์หรือหนังสือที่อ่านแล้วเห็น
ว่าดีมีคนที่ใช้ได้ผลก็สามารถนำมาปรับเปลืี่ยนกับตัวเราเองได้ เพราะอาหารมีผลโดยตรงต่อระดับน้ำตาลในเลือด รวมทั้งโรคแทรกซ้อนที่เกี่่ยวข้องกับปริมาณไขมันไตรกลีเซอร์ไรด์และคอเลสเตอรอล
ที่ได้รับจากอาหาร และเพื่อควบคุมระดับนำ้ตาลในเลือด ลด หรือ ชะลอ ที่จะเกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ ข้อมูลจากหนังสือสำนักพิมพ์แม่บ้าน
ว่าดีมีคนที่ใช้ได้ผลก็สามารถนำมาปรับเปลืี่ยนกับตัวเราเองได้ เพราะอาหารมีผลโดยตรงต่อระดับน้ำตาลในเลือด รวมทั้งโรคแทรกซ้อนที่เกี่่ยวข้องกับปริมาณไขมันไตรกลีเซอร์ไรด์และคอเลสเตอรอล
ที่ได้รับจากอาหาร และเพื่อควบคุมระดับนำ้ตาลในเลือด ลด หรือ ชะลอ ที่จะเกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ ข้อมูลจากหนังสือสำนักพิมพ์แม่บ้าน
กลุ่มที่ 6 น้ำนม 1 ส่วนมีโปรตีน 8 กรัม คาร์โบไฮเดรต 12 กรัม จำนวนพลังงานแตกต่างกันตาม
ปริมาณไขมันในน้ำนมชนิดนั้นๆ
ขึ้นอยู่กับสารอาหารไขมันที่อยู่ในน้ำนม
ผู้ป่วยเบาหวานควรหลีกเลี่ยงนมปรุงแต่งรส โยเกิร์ตชนิดครีมปรุงแต่งรสนมเปรี้ยวพร้อมดื่ม
เพราะนมเหล่านี้มีการเติมน้ำตาลหรือน้ำหวาน ควรเลือกดื่มน้ำนมพร่องมันเนย น้ำนมไม่มีไขมัน
ชนิดของนม ปริมาณ 1 ส่วน น้ำนมที่ควรงด
นำ้นมธรรมดา 240 มล. น้ำนมทุกชนิดที่ใส่น้ำตาลรวมทั้งนมข้นหวาน
น้ำนมพร่องมันเนย 240 มล. รวมทั้งนมข้นหวาน
น้ำนมขาดมันเนย 240 มล. ไม่ควรดื่มน้ำนมไขมันเต็ม เป็นประจำ
น้ำนมระเหย 120 มล. เพราะมีคอเลสเตอรอล และกรดไขมันอิ่มตัวสูง
นมผง 35 กรัม
โยเกิร์ต 240 มล.
ผู้ป่วยเบาหวานรับประทานน้ำหวานหรือขนมหวานได้หรือไม่
น้ำหวานทั้งชนิดอัดลมและไม่อัดลม น้ำหวานเข้มข้นผสมน้ำ ลูกอมชนิดต่างๆ เหล่านี้มีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบหลัก ไม่มีสารอาหารที่เป็นประโยชน์อื่นๆ นอกจากน้ำตาล ซึ่งไม่เหมาะกับผู้ป่วยเบาหวาน เพราะจะทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นรวดเร็ว ยกเว้นเมื่อผู้ป่วยเบาหวานมีอาการน้ำตาลในเลือดต่ำ เริ่มรู้สึกหิวจัด เวียนหัว ตาลาย ควรดื่มน้ำหวานประมาณ ½ -1 แก้ว
ทางที่ดี เมื่อรู้สึกหิวก็หาอะไรมารับประทานก่อน เช่น ธัญญาพืชอบแห้งที่ไม่หวาน
ภาพจากอินเตอร์เน็ต เรียบเรียงโดยบ้านบิวเบสท์
0 ความคิดเห็น :
แสดงความคิดเห็น